บทความ

ลำไส้รั่ว หรือ leaky gut syndrome คือภาวะที่ลำไส้ทำงานผิดปกติ ทำให้ลำไส้ดูดซึมสิ่งแปลกปลอมเข้าสู่ร่างกาย ส่งผลให้เกิดโรคหรืออาการอื่น ๆ ตามมา

7 วิธีดูแลลำไส้ ให้มีสุขภาพดี ได้แก่ 1.ขับถ่ายถูกวิธี 2.รับประทานอาหารที่ดีต่อลำไส้ 3.ดื่มน้ำให้เพียงพอ 4.ออกกำลังกาย 5.ผ่อนคลายอารมณ์ 6.คุมน้ำหนัก 7.เลี่ยงยาปฏิชีวนะ

ปวดท้อง แต่ถ่ายไม่ออกสักที เป็นอย่างนี้มานานแล้ว อาการแบบนี้เกิดจากอะไรกันแน่ ทำความรู้จักสาเหตุที่ทำให้ปวดท้องแต่ถ่ายไม่ออก พร้อมแนวทางบรรเทาอาการ

ลักษณะอาการของลําไส้อักเสบอาจเกิดได้หลายอาการพร้อม ๆ กัน เช่น ปวดท้องแบบปวดเกร็ง ท้องอืด อ่อนเพลีย มีไข้ น้ำหนักลด อุจจาระมีมูกหรือเลือดปนมา และอาจท้องเสีย

ขี้ไม่ออก ทำไงดี แก้ปัญหาขี้ไม่ออกได้หลายวิธีเช่นการเบ่งอุจจาระในท่าที่ถูกต้อง ปรับพฤติกรรมการดำเนินชีวิต รับประทานอาหารให้ดีต่อสุขภาพลำไส้ และการใช้ยาช่วย

ถ่ายยาก เกิดจากอะไร เข้าใจอาการท้องผูกและแก้ไขจากสาเหตุซึ่งมักเกิดจากพฤติกรรมที่ไม่ถูกสุขลักษณะ เช่น ไม่รับประทานอาหารที่มีกากใย ไม่ออกกำลังกาย หรืออั้นอุจจาระ

Gut Microbiome Test โปรแกรมตรวจสมดุลจุลินทรีย์และสุขภาพลำไส้อย่างครอบคลุม ดูแลสุขภาพช่องท้องด้วยการวินิจฉัยจากผู้เชี่ยวชาญ จองผ่านออนไลน์เองได้ง่าย ๆ

จุลินทรีย์ในลำไส้มีหน้าที่ช่วยย่อยสลายอาหารบางชนิดที่ระบบทางเดินอาหารในร่างกายไม่สามารถย่อยเองได้ เมื่อจุลินทรีย์ในลำไส้ไม่สมดุลจึงนำไปสู่การเกิดโรคต่าง ๆ ได้ในที่สุด

ท้องผูก กินอะไรดี แก้อาการท้องผูกได้ไม่ยากด้วยอาหารที่มีกากใยสูง เช่น บร็อคโคลี่ แครอท แอปเปิ้ล ถั่ว และอาหารที่อุดมไปด้วยจุลินทรีย์มีประโยชน์ เช่นอาหารหมักดองต่าง ๆ

อาหารที่มีจุลินทรีย์ดีมีประโยชน์ต่อร่างกายมีหลายชนิด ได้แก่ 1.นมเปรี้ยว 2.โยเกิร์ต 3.ชีสบางชนิด 4.กิมจิ 5.ถั่วนัตโตะ 6.ซุปมิโซะ 7.คอมบูชา 8.ผักดอง 9.ซาวร์เคราต์ 10.คีเฟอร์

การตรวจอุจจาระ (stool examination) เป็นการตรวจสุขภาพโดยใช้การเก็บตัวอย่างอุจจาระมาตรวจ ช่วยวินิจฉัยโรคได้หลากหลายโดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคในระบบทางเดินอาหาร

ลำไส้แปรปรวน (irritable bowel syndrome) หรือ ไอบีเอส (IBS) เป็นโรคที่เกิดจากการทำงานที่ผิดปกติบริเวณปลายลำไส้ อาจเกิดได้ทั้งปลายลำไส้ใหญ่และปลายลำไส้เล็ก

5 วิธีเพิ่มจุลินทรีย์ในลำไส้ทำตามง่าย ได้ประโยชน์จริงช่วยให้สุขภาพร่างกายแข็งแรงด้วยการรับประทานอาหาร 5 รูปแบบเพื่อรักษาสมดุลจุลินทรีย์ในลำไส้ให้พอเหมาะ

แบคทีเรียในลำไส้ ประกอบไปด้วยแบคทีเรียหลายกลุ่ม เช่น Lactobacillus, Bifidobacterium, Streptococcus และ Bacillus การมีแบคทีเรียที่สมดุลจะช่วยลดโอกาสเกิดโรคได้

โรคระบบทางเดินอาหาร 5 โรคสำคัญอย่าง โรคกระเพาะอาหาร โรคกรดไหลย้อน โรคลำไส้อักเสบ โรคลำไส้แปรปรวน และ โรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ เกิดจากอะไร จะป้องกันได้อย่างไร

Gut Microbiome หรือจุลินทรีย์ต่าง ๆ ในลำไส้มีความสำคัญอย่างไร หากสมดุลจุลินทรีย์เปลี่ยนจะส่งผลต่อร่างกายอย่างไร การตรวจ gut microbiome สามารถบอกอะไรเราได้บ้าง

พรีไบโอติกส์ (prebiotics) คืออาหารและแหล่งพลังงานของจุลินทรีย์ probiotics ที่ช่วยรักษาสมดุลในลำไส้ ซึ่งร่างกายของเราไม่สามารถย่อยสลาย prebiotics ผ่านระบบทางเดินอาหารเองได้

โพรไบโอติกส์ (probiotics) ช่วยปรับสมดุลการทำงานของลำไส้ หนึ่งในจุลินทรีย์มีประโยชน์ที่ช่วยลดโอกาสเกิดโรคในระบบทางเดินอาหาร ระบบขับถ่าย และช่วยสร้างภูมิคุ้มกัน

ทุกคนอาจเคยได้ยินคำว่าจุลินทรีย์ผ่านหูมาบ้างแล้ว วันนี้เราจะพูดถึงความสำคัญของจุลินทรีย์ในลำไส้และข้อบ่งชี้ที่น่าสนใจ

เนื่องจากแบคทีเรียในร่างกายเรา สามารถส่งผลต่อความอ้วนหรือความผอมของเรามีอยู่ 2 ชนิด ดังนี้

9 ใน 10 ของเซลล์ร่างกายคือ “จุลินทรีย์” หากจุลินทรีย์ในลำไส้เสียสมดุล จะส่งผลเสียต่อสุขภาพ

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้